เรื่อง 019 - จับไมค์ใส่ขนนก : หางเครื่อง 2

Original วัตถุดิจิตอล not accessible

พื้นที่ Identity

รหัสอ้างอิง

TH NDMI EXH-TMP-03-03-019

ชื่อเรื่อง

จับไมค์ใส่ขนนก : หางเครื่อง 2

วันที่

  • 2010-06 (การผลิต)

ระดับlของคำอธิบาย

เรื่อง

ขนาดและสื่อ

บริบทของเอกสาร

คลังเก็บ

ประวัติจดหมายเหตุ

แหล่งเอกสารหรือหน่วยงานหรือผู้มอบหรือโอนย้ายเอกสาร

เนื้อหาและโครงสร้างของเอกสาร

ขอบเขตและเนื้อหา

หางเครื่อง 2

จินตนา ดำรงค์เลิศ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้กล่าวถึง หางเครื่อง โดยนำมาจากหนังสือ "กึ่งศตวรรษเพลงลูกทุ่งไทย ภาค 2" ตอนหนึ่งมีใจความว่า ในตอนแรกผู้ที่ออกมาเขย่าหางเครื่อง มีทั้งหญิงและชาย บางครั้งเป็นตัวตลกประจำวง ต่อมา จึงพัฒนาขึ้น โดยใช้หญิงสาวสวย ๆ ออกมาเขย่าหางเครื่อง แต่ยังไม่ออกลีลาเต้น การแต่งกายสุดแล้วแต่เจ้าตัวจะใส่ ต่อมาช่วง พ.ศ. 2509 - 2510 ผู้ที่ออกมาเขย่าหางเครื่องประกอบจังหวะการร้องเพลงลูกทุ่ง มีจำนวนเพิ่มขึ้นเป็น 4 - 7 คน การแต่งกายเหมือนกันโดยใช้ชุดเดียวตลอดการแสดง วงดนตรีสุรพล สมบัติเจริญ และวงสมานมิตร เกิดกำแพง มีหางเครื่องเป็นที่กล่าวขวัญ ต่อมาวงดนตรีของศรีนวล ภรรยาของสุรพล สมบัติเจริญ ได้จัดผู้เต้นระบำประกอบเพลงโดยใช้ผู้เต้นประมาณ 10 คน มีลีลาการเต้นแบบระบำฮาวาย หลังจากนั้น วงดนตรีลูกทุ่งก็ได้มีการแข่งขันด้านหางเครื่อง การแสดงของวงดนตรีใหญ่ๆ จะมีหางเครื่องเต้นประกอบทุกเพลง และเปลี่ยนเครื่องแต่งกายทุกเพลง จำนวนผู้เต้นประมาณ 15 - 16 คน แต่ถ้าเป็นเพลงเด่นจะมีถึง 40 คน

การเพิ่มขึ้นของเอกสาร

ระบบการจัดเรียงเอกสาร

ข้อมูลเกี่ยวกับเงื่อนไขการเข้าถึงและการใช้เอกสาร

เงื่อนไขที่กำกับดูแลการเข้าถึง

เงื่อนไขที่กำกับดูแลการทำสำเนา

ภาษาของเอกสาร

สคริปเอกสาร

หมายเหตุภาษาและตัวอักษร

เครื่องมือช่วยค้นเอกสารจดหมายเหตุ

Generated finding aid

ข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งที่เกี่ยวข้อง

สถานที่เก็บเอกสารต้นฉบับ

สถานที่เก็บเอกสารฉบับสำเนา

หน่วยของคำอธิบายที่เกี่ยข้อง

Related descriptions

ส่วนหมายเหตุ

Alternative identifier(s)

จุดเชื่อมต่อ

จัดจุดเข้าถึง

ชื่อจุดเข้าถึง

Genre access points

identifierของหน่วยงาน

วัตถุดิจิตอล (Master) rights area

วัตถุดิจิตอล (อ้างอิง) rights area

วัตถุดิจิตอล (Thumbnail) rights area

พื้นที่การเข้าถึงเอกสาร