เรื่อง 006 - จับไมค์ใส่ขนนก : ยุคหางเครื่องและคอนเสิร์ต (พ.ศ. 2519 - 2528)

Original วัตถุดิจิตอล not accessible

พื้นที่ Identity

รหัสอ้างอิง

TH NDMI EXH-TMP-03-03-006

ชื่อเรื่อง

จับไมค์ใส่ขนนก : ยุคหางเครื่องและคอนเสิร์ต (พ.ศ. 2519 - 2528)

วันที่

  • 2010-06 (การผลิต)

ระดับlของคำอธิบาย

เรื่อง

ขนาดและสื่อ

บริบทของเอกสาร

คลังเก็บ

ประวัติจดหมายเหตุ

แหล่งเอกสารหรือหน่วยงานหรือผู้มอบหรือโอนย้ายเอกสาร

เนื้อหาและโครงสร้างของเอกสาร

ขอบเขตและเนื้อหา

ยุคหางเครื่องและคอนเสิร์ต (พ.ศ. 2519 - 2528)

หลังเกิดเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 เนื้อหาของเพลงลูกทุ่งที่เกี่ยวกับความทุกข์ยากของชาวนา กรรมกร และแนวเพื่อชีวิตมีน้อยลง เนื่องจากการปิดกั้นของภาครัฐ ส่งผลให้กลับมานิยมเนื้อหาด้านการเกี้ยวพาราสีและความรักของหนุ่มสาว ยุคนี้มีนักร้องใหม่เกิดขึ้นเป็นจำนวนมาก ผลงานหลากหลาย วงดนตรีลูกทุ่งมีการแข่งขันมากขึ้น ใช้เงินลงทุนมากขึ้น ใช้เทคนิคแสง สี เสียงที่ทันสมัย การเต้นประกอบเพลงของหางเครื่องมีความอลังการมากขึ้น เนื้อหาของเพลงในช่วงนี้สะท้อนปัญหาใหม่ๆ ของสังคมเพิ่มขึ้นด้วย เช่น การขายแรงงานในต่างประเทศ การย้ายถิ่นฐานในการประกอบอาชีพของชาวชนบท เข้าสู่เมืองหลวง อาทิ เพลงน้ำตาเมียซาอุ ร้องโดย พิมพา พรศิริ เพลงฉันทนาที่รัก ร้องโดย รักชาติ ศิริชัย ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับชายหนุ่มเขียนจดหมายถึงสาวคนรักชื่อฉันทนา ที่ทำงานอยู่โรงงานทอผ้า ซึ่งเพลงนี้ได้รับความนิยมอย่างสูง จนกระทั่งสื่อมวลชนใช้คำว่า "ฉันทนา" แทนผู้หญิงที่ทำงานในโรงงาน

การเพิ่มขึ้นของเอกสาร

ระบบการจัดเรียงเอกสาร

ข้อมูลเกี่ยวกับเงื่อนไขการเข้าถึงและการใช้เอกสาร

เงื่อนไขที่กำกับดูแลการเข้าถึง

เงื่อนไขที่กำกับดูแลการทำสำเนา

ภาษาของเอกสาร

สคริปเอกสาร

หมายเหตุภาษาและตัวอักษร

เครื่องมือช่วยค้นเอกสารจดหมายเหตุ

Generated finding aid

ข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งที่เกี่ยวข้อง

สถานที่เก็บเอกสารต้นฉบับ

สถานที่เก็บเอกสารฉบับสำเนา

หน่วยของคำอธิบายที่เกี่ยข้อง

Related descriptions

ส่วนหมายเหตุ

Alternative identifier(s)

จุดเชื่อมต่อ

จัดจุดเข้าถึง

ชื่อจุดเข้าถึง

Genre access points

identifierของหน่วยงาน

วัตถุดิจิตอล (Master) rights area

วัตถุดิจิตอล (อ้างอิง) rights area

วัตถุดิจิตอล (Thumbnail) rights area

พื้นที่การเข้าถึงเอกสาร