คู่มือการเรียนรู้ เรื่อง สื่อการเรียนรู้สร้างสรรค์ (Educational Materials)
- TH NDMI PUB-03-011
- Item
- 2014-09-05
Part of สิ่งพิมพ์เผยแพร่
โปรแกรมเรียนรู้มิวเซียมสยาม สื่อการเรียนรู้
สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ. ฝ่ายวิชาการ
7 results with digital objects Show results with digital objects
คู่มือการเรียนรู้ เรื่อง สื่อการเรียนรู้สร้างสรรค์ (Educational Materials)
Part of สิ่งพิมพ์เผยแพร่
โปรแกรมเรียนรู้มิวเซียมสยาม สื่อการเรียนรู้
สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ. ฝ่ายวิชาการ
คู่มือการเรียนรู้ เรื่อง เรือนไทย : ภูมิปัญญาแห่งสถาปัตยกรรม
Part of สิ่งพิมพ์เผยแพร่
คู่มือการเรียนรู้ภูมิปัญญา (เรือนไทย)
สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ. ฝ่ายวิชาการ
คู่มือการเรียนรู้ เรื่อง วัตถุโบราณ : กลองมโหระทึก
Part of สิ่งพิมพ์เผยแพร่
คู่มือการเรียนรู้วัตถุโบราณ (กลองมโหระทึก)
สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ. ฝ่ายวิชาการ
คู่มือนำชม สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ (สพร.)
Part of สิ่งพิมพ์เผยแพร่
คู่มือนำชม National Discovery Museum Institiute
สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ. ฝ่ายวิชาการ
จุลสาร พิพิธเพลิน : ฉบับที่ 1 (เมษายน - พฤษภาคม 2555)
Part of สิ่งพิมพ์เผยแพร่
จุลสารราย 2 เดือน ฉ.1 เมษายน-พฤษภาคม 2555
สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ. ฝ่ายวิชาการ
จุลสาร พิพิธเพลิน : ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 (เมษายน - มิถุนายน 2549)
Part of สิ่งพิมพ์เผยแพร่
จุลสารราย 3 เดือน โดย สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ
สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ. ฝ่ายวิชาการ
เอกสารโครงการ โครงการสร้างสรรค์นิทรรศการชั่วคราว เรื่อง เรื่องของหัว
Part of แผนผังและภาพถ่ายนิทรรศการ
เอกสารโครงการ เรื่อง หนักหัว แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับที่มาและวัตถุประสงค์ของโครงการจัดตั้งนิทรรศการชั่วคราวที่ต้องการนำเสนอเรื่องราวและประวัติความเป็นมาของคนไทยโดยใช้หมวกในการบอกเล่าเรื่องราว
หัวข้อของเอกสาร ประกอบด้วย
สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ. ฝ่ายวิชาการ
เอกสารโครงการ โครงการสร้างสรรค์นิทรรศการชั่วคราว เรื่อง กินของเน่า
Part of แผนผังและภาพถ่ายนิทรรศการ
เอกสารโครงการสร้างสรรค์นิทรรศการชั่วคราว เรื่อง กินของเน่า แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับที่มาและวัตถุประสงค์ของโครงการจัดตั้งนิทรรศการชั่วคราวที่ต้องการนำเสนอวัฒนธรรมการกินอาหารที่ผ่านกระบวนการหมักดองของไทยตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันในมุมมองใหม่
หัวข้อของเอกสาร ประกอบด้วย
สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ. ฝ่ายวิชาการ
เอกสารโครงการ โครงการสร้างสรรค์นิทรรศการชั่วคราว เรื่อง เห่อของนอก
Part of แผนผังและภาพถ่ายนิทรรศการ
เอกสารโครงการ เรื่อง เห่อของนอก แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับที่มาและวัตถุประสงค์ของโครงการจัดตั้งนิทรรศการชั่วคราวที่ต้องการนำเสนอเรื่องราววัฒนธรรมบริโภคนิยม โดยมุ่งเน้นกระแสนิยม ของนอก ที่เปลี่ยนแปลงไปตามวัฒนธรรมที่มีอิทธิพลในขณะนั้น เช่น ชาวสุวรรณภูมิยุคก่อร้างสร้างเมืองเกิดกระแส “เห่อของแขก” ชาวสุโขทัย “เห่อของจีน” ในขณะที่กระแส “เห่อเขมร” เกิดขึ้นในหมู่ชาวอยุธยา รวมไปถึงกระแส “เห่อพม่า” “เห่อเปอร์เซีย” หรือ “เห่อชวา” จนมาถึงยุค “เห่อฝรั่ง” ในช่วงที่บ้านเมืองต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบครั้งใหญ่ในสมัยรัชกาลที่ ๔, ๕ และ ๖ พร้อมการคุกคามจากชาติตะวันตก
หัวข้อของเอกสาร ประกอบด้วย
สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ. ฝ่ายวิชาการ
เอกสารโครงการ โครงการสร้างสรรค์นิทรรศการชั่วคราว เรื่อง ข้าว
Part of แผนผังและภาพถ่ายนิทรรศการ
นิทรรศการ เรื่อง ข้าว จัดขึ้นเพื่อเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาสพระชนมายุครบ 7 รอบ ในปีพุทธศักราช 2554
เอกสารโครงการ เรื่อง ข้าว แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับที่มาและวัตถุประสงค์ของโครงการจัดตั้งนิทรรศการชั่วคราวที่ต้องการนำเสนอภูมิปัญญาของชาวนาไทยในอดีตที่ช่างคิดประดิษฐ์เครื่องมือเครื่องใช้จำพวก ดึงชักผลักโยก ชนิดต่างๆ มาใช้ในทุกกระบวนการจองการปลูกข้าว นับตั้งแต่ขั้นตอนการทดน้ำเข้านา การไถเพื่อเตรียมดิน การเพาะหว่านเมล็ดข้าว การปักดำต้นกล้า การดูแลรักษาไม่ให้มีแมลงและวัชพืช จนกระทั่งถึงขั้นตอนการเก็บเกี่ยว และฝัดสีข้าวมาบริโภค
หัวข้อของเอกสาร ประกอบด้วย
สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ. ฝ่ายวิชาการ
เอกสารโครงการ โครงการสร้างสรรค์นิทรรศการชั่วคราว เรื่อง ลูกทุ่ง
Part of แผนผังและภาพถ่ายนิทรรศการ
เอกสารโครงการ เรื่อง ลูกทุ่ง แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับที่มาและวัตถุประสงค์ของโครงการจัดตั้งนิทรรศการชั่วคราวที่ต้องการนำเสนอแง่มุมอันหลากหลายของเพลงลูกทุ่งไทย แสดงให้เห็นการคลี่คลายจากเพลงไทยเดิมและเพลงพื้นบ้าน ผสมผสานเข้ากับรูปแบบของดนตรีตะวันตก เกิดเป็นการแสดงที่มีรูปแบบเฉพาะ ถูกใจประชาชนไทย รวมทั้งมีการพัฒนาควบคู่ไปกับสังคมไทยนับตั้งแต่ศิลปะการแสดงประเภทนี้ถือกำเนิดมา
หัวข้อของเอกสาร ประกอบด้วย
สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ. ฝ่ายวิชาการ